จรรยาบรรณในการใช้คอมพิวเตอร์
จริยธรรม (Ethics) เป็นเรื่องของการกำหนดความถูกต้องดีงามสิ่งที่ไม่ควรทำมีหลักปฏิบัติในระดับที่สูง
กว่ามารยาทในสังคม เช่น คนที่ไม่ยอมเข้าแถวเพื่อขอรับบริการตามสิทธิ์ก่อนหลังอาจถือว่าไม่มีมารยาทหรือ
พนักงานคอมพิวเตอร์คนหนึ่งเอาข้อมูลทางการเงินของลูกค้าที่เขาจะต้องเห็นตามหน้าที่การงานไปหา
ผลประโยชน์แก่ตนเอง เช่น ขายรายชื่อนั้นให้ธุรกิจอื่นหรือบอกให้แก่คู่สมรสซึ่งเป็นพนักงานขายตรงไปเสนอ
ขายสินค้าการกระทำเช่นนี้ถือว่าไม่ถูกต้องไม่มีจริยธรรมจริงอยู่แม้ว่าบริษัทที่พนักงานผู้นั้นทำงานอยู่จะไม่
เสียหายแต่การนำเอาของบริษัทไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวก็เป็นสิ่งที่ไม่อาจทำได้อย่างเปิดเผยหรือพนักงาน
ขายสินค้าของทางบริการหนึ่งซึ่งลาออกจากบริษัทเพื่อไปทำงานกับบริษัทคู่แข่งแล้วใช้ประโยชน์จากความรู้
ใน เรื่องข้อมูลราคาหรือความลับทางการค้าของบริษัทแรกไปให้บริษัทหลังก็อาจเรียกได้ว่าพนักงานคนนั้นไม่มี
จริยธรรม
เมื่อสังคมสลับซับซ้อนขึ้นมีการแบ่งหน้าที่กันออกเป็นหน้าที่ต่างๆจึงมีข้อกำหนดที่เรียกว่า“จรรยา วิชาชีพ” (Code of Conduct) ขึ้นเพื่อใช้เป็นหลักปฏิบัติของคนในอาชีพนั้นๆ
เราคงเคยได้ยินจรรยาบรรณ ของแพทย์ที่จะไม่เปิดเผยเรื่องราวส่วนตัวของคนไข้ จรรยาบรรณของนักหนังสือพิมพ์ที่รับเงินทองสิ่งตอบแทน
เพื่อเสนอข่าวหรือไม่เสนอข่าวไม่เปิดเผยแหล่งข่าวถ้าแหล่งข่าวไม่ต้องการ จรรยาบรรณวิชาชีพของสถาปนิก
หรือวิศวกรผู้ออกแบบที่ต้องไม่รับผลประโยชน์ใดๆจากผู้ขายอุปกรณ์ที่ใช้ในงานที่เขาออกแบบซึ่งขายให้กับผู้
ว่าจ้างงานชิ้นนั้นเพราะเขาได้รับผลตอบแทนจากผู้ว่าจ้างแล้ว จรรยาบรรณของวิชาชีพใดก็มักกำหนดขึ้นโดย
สมาคมวิชาชีพนั้นโดยมีข้อกำหนดบทลงโทษที่นอกเหนือไปจากกฎหมายบ้านเมือง เช่น เพิกถอนสมาชิกภาพ
เพิกถอนหรือพักใบประกอบวิชาชีพและอาจมีกฎหมายรองรับอีกด้วยอาชีพนักคอมพิวเตอร์เป็นอาชีพใหม่ใน
สังคมสารสนเทศการใช้คอมพิวเตอร์และระบบสารสนเทศก็เป็นสิ่งใหม่ที่มีศีลธรรมจริยธรรมและจรรยาบรรณ
เฉพาะของตนซึ่งบางครั้งก็แตกต่างจากจริยธรรมที่ยอมรับกันมาแต่ก่อนหลักพื้นฐานของจริยธรรมใน
สังคมสารสนเทศก็คือการเคารพผู้อื่นเคารพความเป็นส่วนตัว เพื่อให้การอยู่ร่วมกันในสังคมอินเทอร์เน็ตสงบสุข
Arlene H.Rinaldi แห่งมหาวิทยาลัยฟอร์ริดา แอตแลนติกจึงรวบรวมกฎกติกามารยาทและวางเป็น
จรรยาบรรณอินเทอร์เน็ต หรือที่เรียกว่า Netiquette ไว้ ดังนี้
จรรยาบรรณสำหรับผู้ใช้ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์
1.
ควรมีความรับผิดชอบในการดูแลตู้จดหมาย
(mail box) ของตนเองดังนี้
2.
ตรวจสอบจดหมายทุกวันและจะต้องจำกัดจำนวนไฟล์และข้อมูลในตู้จดหมายของตนให้เลือก
ภายในโควต้าที่กำหนด
3.
ลบข้อความหรือจดหมายที่ไม่ต้องการแล้วออกจากดิสต์เพื่อลดปริมาณการใช้ดิสก็ให้จำนวน
จดหมายที่อยู่ในตู้จดหมาย (mail box) มีจำนวนน้อยที่สุด
4.
ให้ทำการโอนย้ายจดหมายจากระบบไปไว้ยังพีซีหรือฮาร์ดดิสก์ของตนเองเพื่อใช้อ้างอิงใน
ภายหลัง
5.
พึงระลึกเสมอว่าจดหมายที่เก็บไว้ในตู้จดหมายนี้อาจถูกผู้อื่นแอบอ่านได้ไม่ควรเก็บข้อมูลหรือ
จดหมายที่คุณคิดว่าไม่ใช้แล้วเสมือนเป็นประกาศไว้ในตู้จดหมาย
บัญญัติ10 ประการของผู้ใช้คอมพิวเตอร์
การเข้าถึงระบบคอมพิวเตอร์และข้อมูลก็จะเฉพาะสิทธิ์ที่ตนเองมีในส่วนที่เกี่ยวข้องกับงาน
1.
ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้ายผู้อื่น
2.
ไม่รบกวนจนงานคอมพิวเตอร์ของผู้อื่น
3.
ไม่แอบดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4.
ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อลักขโมย
5.
ไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อเป็นพยานเท็จ
6.
ไม่ใช้หรือทำสำเนาซอฟต์แวร์ที่ตนไม่ได้ซื้อสิทธิ์
7.
ไม่ใช้คอมพิวเตอร์ของผู้อื่นโดยไม่มีอำนาจหน้าที่
8.
ไม่ฉวยเอาทรัพย์ทางปัญญาของผู้อื่นมาเป็นของตน
9.
คิดถึงผลต่อเนื่องทางสังคมของโปรแกรมที่เขียน
10. ใช้คอมพิวเตอร์ในทางที่แสดงถึงความใคร่ครวญและเคารพจรรยาวิชาชีพของสมาชิกสมาคม
เครื่องจักรกลคอมพิวเตอร์
จรรยาบรรณในอาชีพคอมพิวเตอร์
ความหมายจรรยาบรรณ
หมายถึง ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบการอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้นเพื่อรักษา และส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม้ก็ได้ จรรยาบรรณจึงเป็นหลักความประพฤติของบุคคลในแต่ละกลุ่มอาชีพ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจให้มีคุณธรรมและจริยธรรม
จรรยาบรรณพนักงานคอมพิวเตอร์
1.มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น
2.ไม่ละทิ้งงานในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3.ไม่เปิดเผยข้อมูลที่เป็นความลับกับผู้อื่น
4.มีความจงรักภัคดีต่อองค์กร
5.อุทิศตนให้กับวิชาชีพอย่างเต็มกำลังความสามารถ
6.ไม่ทุจริตและคอรัปชั่น
7.มีความรักและความศรัทธาต่อวิชาชีพ
หมายถึง ประมวลความประพฤติที่ผู้ประกอบการอาชีพการงานแต่ละอย่างกำหนดขึ้นเพื่อรักษา และส่งเสริมเกียรติคุณชื่อเสียงและฐานะของสมาชิก อาจเขียนเป็นลายลักษณ์อักษรหรือไม้ก็ได้ จรรยาบรรณจึงเป็นหลักความประพฤติของบุคคลในแต่ละกลุ่มอาชีพ เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจให้มีคุณธรรมและจริยธรรม
จรรยาบรรณพนักงานคอมพิวเตอร์
1.มีความซื่อสัตย์ต่อตนเองและผู้อื่น
2.ไม่ละทิ้งงานในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
3.ไม่เปิดเผยข้อมูลที่เป็นความลับกับผู้อื่น
4.มีความจงรักภัคดีต่อองค์กร
5.อุทิศตนให้กับวิชาชีพอย่างเต็มกำลังความสามารถ
6.ไม่ทุจริตและคอรัปชั่น
7.มีความรักและความศรัทธาต่อวิชาชีพ
จรรบรรณสำหรับผู้ใช้อินเตอร์เน็ท
1.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์ทำร้าย หรือละเมิดผู้อื่น
2.ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3.ต้องไม่สอดแนมหรือ แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6.ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธ์
7.ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธ์
8.ต้องไม่นำเอาผลงานของคนอื่นมาเป็นของตนเอง
9.ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคม
10.ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ
อาชญากรรม 6 ประเภท
2.ต้องไม่รบกวนการทำงานของผู้อื่น
3.ต้องไม่สอดแนมหรือ แก้ไข หรือเปิดดูแฟ้มข้อมูลของผู้อื่น
4.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์เพื่อการโจรกรรมข้อมูลข่าวสาร
5.ต้องไม่ใช้คอมพิวเตอร์สร้างหลักฐานที่เป็นเท็จ
6.ต้องไม่คัดลอกโปรแกรมของผู้อื่นที่มีลิขสิทธ์
7.ต้องไม่ละเมิดการใช้ทรัพยากรคอมพิวเตอร์โดยที่ตนเองไม่มีสิทธ์
8.ต้องไม่นำเอาผลงานของคนอื่นมาเป็นของตนเอง
9.ต้องคำนึงถึงสิ่งที่จะเกิดขึ้นกับสังคม
10.ต้องใช้คอมพิวเตอร์โดยเคารพกฎระเบียบ
อาชญากรรม 6 ประเภท
1.การเงิน
2.การละเมิดลิขสิทธ์
3.การเจาะระบบ
4.การก่อการร้ายทางคอมพิวเตอร์
5.ภาพอนาจารทางออนไลน์
6.ภายในโรงเรียน
สรุป
ในการทำงานทุกอาชีพย่อมจะต้องมีจรรยาบรรณที่เป็นเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจให้ทุกคนมีคุณธรรมและจริยธรรมใช้เป็นหลักยึดถือในการปฎิบัติงานตามหน้าที่ให้เกิดประสิทธิภาพ ปราศจากอคติและข้อครหาใดๆในการทำงาน
แหล่งที่มา : เhttp://kawaelovely.blogspot.com/2009/07/blog-post.html